จิตร ภูมิศักดิ์

Chit.jpg

ประวัติผู้เขียน

จิตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักประวัติศาสตร์ นักกิจกรรม นักคิดด้านการเมือง นักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์ นักปฏิวัติทางความคิด และนักวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรก ๆ ที่กล้าถกเถียงคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด ผลงาน 3 รายการของเขาได้รับยกย่องเป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน เป็นเพื่อนร่วมอุดมการณ์เดียวกันกับ นายครอง จันดาวงศ์, นายผี อัศนี พลจันทร และนายกุหลาบ สายประดิษฐ์

จิตรเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2509 หลังเข้าร่วมต่อต้านการปกครองของเผด็จการทหาร โดยถูกตัวแทนเผด็จการคือ”กำนันแหลม”และพวกอาสาสมัครฝั่งตรงข้ามและนำเหล่าทหารกับตำรวจล้อมยิง นี่เองที่เป็นส่วนหนึ่งของพลังผลักดันให้เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ในปี พ.ศ. 2516

ผลงานนักเขียน

ตำนานแห่งนครวัด

ตำนานแห่งนครวัด

หนังสือเสียง

บทที 1 https://drive.google.com/drive/folders/12XJtsw8VTqzgQ-SJIErlZOfW09N4ByOu

บทที่ 2 https://drive.google.com/drive/folders/10Eu9BI1a4L46QjILxgMjf-6VaFCOG4da

บทที่ 3 https://drive.google.com/drive/folders/1LTrjgTlq0BOwZylsYSNB47ZhO5Khp02a

บทที่ 4 https://drive.google.com/drive/folders/1pMzmk0bs6U_8aSQjJRpFALbmJO3MYJF4

บทที่ 5 https://drive.google.com/drive/folders/1zNUSlsb-lOu72u6r4dqRAthm9VZxZih-

บทที่ 6 https://drive.google.com/drive/folders/1qWswS6TrinIBQWNcvR4g9ah19dDAXOOX

บทที่ 7 https://drive.google.com/drive/folders/1EyS9ukQjIiqoXkyyfpnkHNE-BQOy9NT6

บทที่ 8 https://drive.google.com/drive/folders/1bcxiHqoSEa_pgKoZRhyoZedqKthPFEmX

บทที่ 9 https://drive.google.com/drive/folders/1JQTn_tKQK9vnwvz6o3vr_eW76nKQ6hMb

บทที่ 10 https://drive.google.com/drive/folders/1Sg9qnqAWke34XTHdeoCZeBLL7UA1XnkD

หนังสือ

https://docs.google.com/document/d/1HiYAep78NqjzxnDFwYQGEGH9zTa8L4Nd/edit?rtpof=true

อ้างอิง

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3_%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น