พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

ศาสตราจารย์พิเศษ พระพรหมคุณาภรณ์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา “ป.อ. ปยุตฺโต” เกิดเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2481 ที่ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 12 ปี เมื่อ ปี พ.ศ. 2494 และเข้ามาจำพรรษาที่วัดพระพิเรนทร์ กรุงเทพ มหานคร จนสอบได้นักธรรมชั้นเอกและเปรียญธรรม 9 ประโยค ขณะยังเป็นสามเณร นับเป็นรูปที่สองในรัชกาลที่ 9 และเป็นรูปที่สี่ในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยได้รับการอุปสมบทโดยเป็นนาคหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2504 ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) เป็นพระอุปัชฌาย์

ท่านได้รับการยกย่องจากทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก ด้วยผลงานของท่านทำให้ท่านได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน ทั้งในและนอกประเทศ รวมมากกว่า 20 สถาบัน ซึ่งนับว่าท่านเป็นพระภิกษุสงฆ์ไทยที่ได้รับการยกย่องให้ได้รับ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มากที่สุดในปัจจุบัน

ผลงานนักเขียน

“กรรม”

เนื้อหาในหนังสือ (อยู่ในบทที่ 5)
https://dhammaway.files.wordpress.com/2013/05/putthathum-extend.pdf
เสียงบรรยาย
1 – ความนำ
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_01.mp3
2 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ก. กรรม ในฐานะกฏธรรมชาติอย่างหนึ่ง
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_02.mp3
3 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ข. ความหมายของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_03.mp3
4 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ค. ประเภทของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_04.mp3
5 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ก. ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_05.mp3
6 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ข. ความหมายของกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_06.mp3
7 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ค. ข้อคววรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_07.mp3
8 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ง. เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_08.mp3
9 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ ไม่เกี่ยวกับกุศล อกุศลโดยตรง
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_09.mp3
10 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ กระทบถึงกุศล อกุศลในกรรมนิยาม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_10.mp3
11 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าเจตนา
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_11.mp3
12 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – อย่างไรก็ดี เพราะเหตุที่นิยามทั้งสองนั้น…
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_12.mp3
13 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – จ. หลักคำสอนเพื่อเป็นเกณฑ์วินิจฉัย
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_13.mp3
14 – การให้ผลของกรรม – ก. ผลกรรมในระดับต่างๆ
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_14.mp3
15 – การให้ผลของกรรม – ข. องค์ประกอบที่ส่งเสริมและขัดขวางการให้ผลของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_15.mp3
16 – การให้ผลของกรรม – ค. ผลกรรมในช่วงกว้างไกล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_16.mp3
17 – การให้ผลของกรรม – ง. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจน์เรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_17.mp3
18 – การให้ผลของกรรม – จ. ข้อสรุป: การพิสูจน์และท่าทีปฏิบัติต่อเรื่องชาติหน้า
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_18.mp3
19 – การให้ผลของกรรม – ฉ. ผลกรรมตามนัยแห่งจูฬกรรมวิภังคสูตร
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_19.mp3
20 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๑) สุขทุกข์ ใครทำให้
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_20.mp3
21 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๒) เชื่ออย่างไร ผิดหลักกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_21.mp3
22 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๓) กรรม ชำระล้างได้อย่างไร
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_22.mp3
23 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๔) แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_23.mp3
24 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (1)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_24.mp3
25 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (2)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_25.mp3
26 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (3)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_26.mp3
27 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_27.mp3
28 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎของมนุษย์
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_28.mp3
29 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (1)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_29.mp3
30 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (2)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_30.mp3
31 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_31.mp3
32 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ (ต่อ) – สรุป
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_32.mp3
33 – คุณค่าทางจริยธรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_33.mp3
34 – บันทึกพิเศษท้ายบท
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_34.mp3
อ้างอิง : https://dhammaway.wordpress.com/2014/01/28/krama/
https://th.wikipedia.org/wiki/
https://www.posttoday.com/dhamma/466249

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น